ช่องทางรับฟังความคิดเห็น     คลังเอกสาร     คำถามที่พบบ่อย     ถาม-ตอบ      มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี    

Pracha Khamphakdi

นาย ประชา คำภักดี


ตำแหน่งบริหาร ผู้ช่วยผู้อำนวยการโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

สังกัดภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

การศึกษา

ประสบการณ์ด้านการสอน

มีประสบการณ์ด้านการสอนและวิจัย ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ได้แก่

1.    อิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)

2.    การขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า (Electric Motor Drives)

3.    เครื่องจักรไฟฟ้า (Electrical Machines)

4.    การควบคุมแบบเรียงลำดับ (Sequence Control System)

5.    การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า (Electrical Circuit Analysis)

6.    การประยุกต์ใช้งานระบบเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar PV System)

7.    ระบบสมองกลฝังตัว (Embedded System) และประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีไอโอที (ioT)

 

ผลงานวิจัย(Research)

1)ประชา คำภักดี. (2551). โปรแกรมสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์กำลังด้วยตนเอง (Power Electronic Self Learning Program)รายงานการวิจัยทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

หมายเหตุ:ได้รับการจดลิขสิทธิ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (9 กุมภาพันธ์ 2553).

2)ประชา คำภักดี. วรการ วงศ์สายเชื้อ และ สุริยา โชคสวัสดิ์ (2552). การออกแบบและสร้างระบบควบคุมมอเตอร์เพื่อขับเคลื่อนแท่งอิเล็กโทรดของเตาหลอมแบบอาร์คโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์. รายงานการวิจัยทุนอุดหนุนการวิจัยโครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาตรีระดับชาติ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

 3) วรการ วงศ์สายเชื้อ. ประชา คำภักดี และ สุริยา โชคสวัสดิ์ (2553). การควบคุมเครื่องให้ความร้อนแบบเหนี่ยวนำด้วยตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล. รายงานการวิจัยทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

4)ประชา คำภักดี, วรการ วงศ์สายเชื้อ, ผดุง กิจแสวง, สมนึก เวียนวัฒนชัย (2559-2561), การพัฒนาวงจรปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าแบบไวงานสำหรับวงจรเรียงกระแสสามเฟส (Development of an active power factor correction (APFC) circuit for the three-phase rectifier systems). ทุนวิจัยจากบริษัทสยามคอมเพรสเซอร์อุตสาหกรรมจำกัด (SCI)ร่วมโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ทุน IRTC ประจำปี 2559

5)ประชา คำภักดี, สุริยา โชคสวัสดิ์, ประสิทธิ์ นครราช, นิศรุต พันธ์ศิริ, ผดุง กิจแสวง, วิชชุกร อุดมรัตน์ (2559-2560), งานด้านระบบแสงสว่างและจัดการอุปกรณ์อัตโนมัติภายในอุทยานวัฒนธรรมอีสานและลุ่มน้ำโขง, ทุนโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประจำปีงบประมาณ 2560.

6) อนุพงษ์ รัฐิรมย์, สมปอง เวฬุวนาธร, ชัชวิน นามมั่น, อธิพงษ์ สุริยา, เกรียงศักดิ์ ตรีประพิณ, ประชา คำภักดี(2559-2560), ระบบต้นแบบการนำเสนอและจัดการข้อมูลในอุทยานวัฒนธรรมอีสานและลุ่มน้ำโขง, ทุนโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประจำปีงบประมาณ 2560.

7)ประชา คำภักดี, ประสิทธิ์ นครราช, เกรียงศักดิ์ ตรีประพิณ, ชัชวิน นามมั่น, ผดุง กิจแสวง, วิชชุกร อุดมรัตน์, อภิสิทธิ์ ศิริบูลย์ (2560-2561), แหล่งเรียนรู้การจัดการพลังงานและโซล่าเซลล์ในอุทยานวัฒนธรรมอีสานและลุ่มน้ำโขง, ทุนโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประจำปีงบประมาณ 2561.

8) ถนัดกิจ ชารีรัตน์, ประชา คำภักดี, สมภพ สนองราษฎร์ (2560-2561), แหล่งเรียนรู้การจัดการระบบหมุนเวียนน้ำในอุทยานวัฒนธรรมอีสานและลุ่มน้ำโขง, ทุนโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมประจำปีงบประมาณ 2561.

9)ประชา คำภักดี, ธนากร ไชยโคตร, มงคล เหลียวสูง, ผดุง กิจแสวง, (2562), การตรวจสอบความผิดพลาดของคอมเพรสเซอร์และอินเวอร์เตอร์ในเครื่องปรับอากาศ (IOT-Based Fault Monitoring compressor and inverter in air-conditioner system), ทุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภายใต้โครงการยกระดับสมรรถนะนักวิจัยไทยเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันประจำปีงบประมาณ 2562, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

10)ประชา คำภักดี, อัครพล โพธิ์ทอง,  ผดุง กิจแสวง, ณรงค์ ทองฉิม, รถสามล้อไฟฟ้าสำหรับรับส่งภายในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (Shuttle Electric Tricycle in Ubon Ratchathani University), ทุนโครงการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี   

11. สมนึก เวียนวัฒนชัย, ประชา คำภักดี, โครงการการถ่ายทอดความรู้และพัฒนาระบบพลังงานทดแทนโรงเรือนอัจฉริยะ, ภายใต้งบประมาณสนับสนุนโครง การถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (Tech transfer to community). อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2563-2564

12. ธนาทิพย์ แหลมคม, กาญจนา พยุหะ, ประชา คำภักดี, ผดุง กิจแสวง, โครงการการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมในระบบไบโอฟล็อค และการตรวจสอบคุณภาพน้ำด้วยระบบอัจฉริยะ, ภายใต้งบประมาณสนับสนุนโครง การถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (Tech transfer to community). อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2563-2564

 

ประสบการณ์ด้านการทำงาน

รางวัลเกียรติยศและทุนการศึกษา

1.       M.Eng. Scholarship supported by National Thailand Graduate Institute of Science and Technology (TGIST), National Science and Technology Development Agency.

2.       Ph.D. Scholarship supported by The Royal Thai Government Science and Technology Scholarship, Ministry of Science and Technology.

3.       2013 First Prize Paper Award from IEEE Industry Applications Society (IAS) Industrial Power Converter Committee (IPCC).

4.       2018, ประกาศเกียรติคุณเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติในฐานะเป็นผู้สร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจำปี 2561ในฐานะที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาทีมหุ่นยนต์กันเกรา ของชุมชุมนักประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์  ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศรายการแข่งขันหุ่นยนต์ ชิงแชมป์ประเทศไทยABU ROBOCON 2018 (เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขันระดับนานาชาติ ที่ประเทศเวียดนาม)

5.       2019, ประกาศนียบัตรทีสร้างชื่อเสียงให้แก่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปี 2562ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาทีมลูกหมู ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันระดับประเทศ โครงการแข่งไอโอทีเพื่ออุตสาหกรรม (IIOT Contest) ของ บริษัทชไนเดอร์ อิเล็กทริค (Schneider Electric)

6.       2019, Best Paper Award from 2019 International Conference on Power, Energy and Innovations (ICPEI) 16-18 Oct. 2019, Pattaya, Chonburi, Thailand.

7.       2020, รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นดาวรุ่ง (Young Outstanding Alumni Award) จากชุมนุมศิษย์เก่านักเรียนไทยในสถาบันเทคโนโลยีแห่งโตเกียว (Tokyo Tech Alumni Association (Thailand Chapter)) ประเทศญี่ปุ่น

8.       2021, ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติบุคลากรดีเด่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประเภทวิชาการ (พนักงานมหาวิทยาลัย) ประจำปี พ.ศ. 2564, ณ วันที่ 2 มิถุนายน 2564

 

ผลงานตีพิมพ์

บทความตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ (International Journal)

1) Sekiguchi, K., Khamphakdi, P, Hagiwara, M. & Akagi, H. (2014). A grid-level high- power BTB (Back-To-Back) system using modular multilevel cascade converters without common dc-link capacitor. IEEE Transactions on Industry Applications, 50(4), 2648-2659. (First Prize paper Award 2013, IEEE Industry Applications Society (IAS) Industrial Power Converter Committee (IPCC).

2) Khamphakdi, P., Sekiguchi, K., Hagiwara, M. & Akagi, H. (2015). A transformerless back-to-back (BTB) system using modular multilevel cascade converters for power distribution systems. IEEE Transactions on Power Electronics, 30(4), 1866-1875.

3) Khamphakdi, P., Nitta, M., Hagiwara, M. & Akagi, H. (2016). Zero-voltage ride-through capability of a transformerless back-to-back system using modular multilevel cascade converters for power distribution systems. IEEE Transactions on Power Electronics, 31(4), 2730-2741.

4) Khamphakdi, P.(2017). The Analysis and Control of Zero-Sequence Components in a Transformerless Back-To-Back (BTB) System Using Modular Multilevel Cascade Converters for Power Distribution Systems. Engineering Journal Volume 21 Issue 6 (Selected paper from EECON2016), 81-89. 

 

บทความตีพิมพ์ในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference)

1) P. Khamphakdi, W.Khan-ngern, and S.Nitta, “EMI Testing of an Electric Vehicle Drive with Loop Antenna,” 2002 International Conference on electromagnetic compatibility, ICEMC2002, Bangkok, Thailand, July 24-27, 2002, pp. 267-271.

2) A. Khemchan, P. Khamphakdi, Junichiro Urabe and W. Khan-ngern, “Small Loop Antenna for EMI controlled and Monitoring,” 2004 International Conference on Control, Automation and Systems, ICCAS 2004, Bangkok, Thailand, August 25-27,  2004, pp. 470-473.

3) P. Khamphakdi, Junichiro Urabe, W. Khan-ngern, C. U-yaisom,V. Tarateeraseth, Katsumi Fujii,Yasushi Matsumoto and Akira Sugiura,  “The Comparison of Conducted EMI Measurement between the Small Loop Antenna and a Conventional LISN,” 2004 International Symposium on Electromagnetic Compatibility, Sendai (EMC'04/Sendai), Japan, June 1-4, 2004.

4) P. Khamphakdi and W. Khan-ngern, “The Analysis of Output filter for Grid Connected Single Phase Full Bridge Inverter Based on PSpice Simulation Technique,” 2005 International Conference on electromagnetic compatibility, ICEMC2005, Phuket, Thailand, July 27-29, 2005,  session 1C-1.

5) T. Dumrongkitigule, P. Khamphakdi and W. Khan-ngern, C. Chat-uthail, “The Study of Low Frequency Magnetic Field Shielding Causing by Power Transformer,” 2005 International Conference on electromagnetic compatibility, ICEMC2005, Phuket, Thailand, July 27-29, 2005,  session 5A-2.

6) P. Khamphakdi, V. Tarateeraseth, K. Karanun and W. Khan-ngern, “The Conducted Electromagnetic Interference of Small Grid Connected Inverter to Power System,” 2006 EMC - Zurich in Singapore, 27 Feb - 3 Mar, 2006, pp. 654-657.   

7) P. Khamphakdi, K. Sekiguchi, M. Hagiwara, and H. Akagi, “Development of a loop power flow controller based on modular multilevel cascade converters (MMCC-DSCCs),” in Conf. Rec. CIRGE (SC C6 colloquium 2013), Yokohama, Japan, Oct. 6-9, 2013, pp. 81-86, (Oral Presentation).

8) Khamphakdi, P., Sekiguchi, K., Hagiwara, M. & Akagi, H. (2013). Design and experiment of a back-to-back (BTB) system using modular multilevel cascade converters for power distribution systems. IEEE ECCE Asia 2013(pp.311-317). Melbourne, Australia.

9)Khamphakdi, P.(2016). The Analysis and Control of Zero-Sequence Components in a Transformerless Back-To-Back (BTB) System Using Modular Multilevel Cascade Converters for Power Distribution Systems. Proceeding of EECON 2016. Cha-um, Petburi, Thailand.

10) Siriphan K., Khamphakdi P. (2019). Analysis of Center-Aligned Space Vector Pulse Width Modulation Realization for Three-Phase Vienna Rectifier. 2019 International Conference on Power, Energy and Innovations (ICPEI) 16-18 Oct. 2019, Pattaya, Chonburi, Thailand (Best Paper Award 2019). IEEE Thailand Section, IEEE PES xplore.

11) Phonphan N., Khamphakdi P.(2020). Home Energy Management System Based on The Photovoltaic – Battery Hybrid Power System,2020 International Conference on Power, Energy and Innovations (ICPEI) 14-16 Oct. 2020, Kantary Hills Hotel, Chiang Mai, Thailan,IEEE Thailand Section, IEEE PES xplore.

 

บทความตีพิมพ์ในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ (National Conference)

1) P. Khamphakdi, V. Tarateeraseth and W. Khan-ngern, “The root Cause Analysis of Conducted Electromagnetic Interference on A Single Phase Grid Connected Inverter”, in 29st Electrical Engineering Conference EECON-29, at Ambassador City Jomtien, Pattaya, Thailand, 9-10 November 2006. (Oral Presentation)

2) P. Khamphakdi, R. Boontan, P. Sornsanam, W. Panbo, K. Dokbua and N. Sannang,   “Power Electronics Self Learning Program for Power Thyristor and Power Mosfet Circuits", in 31st Electrical Engineering Conference (EECON-30), at Felix River Kwai Resort, Kanchanaburi, Thailand, 25-26 October 2007. (Oral Presentation)

3) M. Boonyong, W. Wanasorn, P.Khamphakdi, W.Wongsaichua and S. Choksavusd,“Design and Implementation of Induction Heater Controlled by Microcontroller,” 3rd UBU-Research Conference (UBRC-3), Ubon Ratchathani, Thailand, 28-29 July 2009, (Oral Presentation).

4) P.Khamphakdi, “Power Electronics Self Learning Program (PESLP),” 3rdUBU-Research Conference (UBRC-3), Ubon Ratchathani, Thailand, 28-29 July 2009, (Oral Presentation).

5) N. Jitvikam, W.Buapeng, P.Khamphakdi, W.Wongsaichua and S. Choksavusd, “Design and Implementation of Motor Control System for Electrodes Drive in an Arc Furnace by using a Microcontroller,” 1st National Conference on Industrial and Research Projects for Undergraduate Students (IRPUSCON-01), Bangkok, Thailand, 27-29 March 2009, (Oral and Poster Presentation).

6)กชกร ศิริพันธ์, ผดุง กิจแสวง, ประชา คำภักดี, วรการ วงศ์สายเชื้อ (2560),“การวิเคราะห์วิธีควบคุมและวิธีมอดูเลชั่นที่ใช้งานร่วมกับวงจรเรียงกระแสสามเฟสแบบเวียนนา (Analysis of Control and Modulation Techniques for Three-Phase Vienna Rectifier)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 40 (EECON-40) โรงแรมเดอะซายน์ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี, 15-17 พฤศจิกายน 2560, หน้า 226 – 229

7) กชกร ศิริพันธ์, ผดุง กิจแสวง, ประชา คำภักดี, วรการ วงศ์สายเชื้อ (2560), “การวิเคราะห์วิธีมอดูเลชั่นของวิธีควบคุมกำลังไฟฟ้าโดยตรงที่ใช้งานร่วมกับวงจรเรียงกระแสสามเฟสแบบเวียนนา (Analysis of Modulation Techniques with Direct Power Control of Three-Phase Vienna Rectifier)”, การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 (NGRC-44) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี, 19-20ตุลาคม 2560, หน้า 952 – 959.

8) ภูวดี บุญเสริฐ, วณิชยา พลสามารถ, ฤทธิชัย ชุมรัตน์, เกษมชัย คันธะศร, สมนึก เวียนวัฒนชัย, ประชา คำภักดี (2561), “การวิเคราะห์และควบคุมวงจรปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังแบบแรงดันสามระดับ(Analysis and Control of a Three-Level Power Factor Correction Circuit)”, ประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 12, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 12-13 กรกฎาคม 2561,หน้า 49-57.

9) รักษิต กำเนิดสิงห์, ปณิธาน พรหมศรี, เอกพล สายสีแก้ว, วีระยุทธ นบโศรก, ประสิทธิ์ นครราช, ประชา คำภักดี (2561), “การจัดการระบบไฟฟ้าภายในบ้านแบบอัจฉริยะ(Electrical System Management in Smart Home)”, ประชุมวิชาการระดับชาติ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 12, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 12-13 กรกฎาคม 2561,หน้า 1-13.

10) กชกร ศิริพันธ์, ประชา คำภักดี, (2561),”การปรับศูนย์ของสเปซเวกเตอร์พัลส์วิดมอดูเลชั่นสาหรับวงจรเรียงกระแสสามเฟสแบบเวียนนา (Center-Aligned Space Vector Pulse Width Modulation Realization for Three-Phase Vienna Rectifier)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 41 (EECON-41) โรงแรมสุนีย์แกรนด์ จ. อุบลราชธานี, 21-23พฤศจิกายน 2561, หน้า 225– 228, PE25.

11) นนทนันท์ พลพันธ์, ประชา คำภักดี (2562), “เทคนิคการหาค่าเหมาะสมแบบกลุ่มอนุภาคสำหรับการจัดการการพลังงานไฟฟ้าของระบบผลิตไฟฟ้าระหว่างเซลล์แสงอาทิตย์ร่วมกับแบตเตอรี่ (Particle Swarm Optimization for Energy Management Based On Grid-Connected Photovoltaic-Battery Hybrid System)”,การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 42 (EECON-42) โรงแรมกรีนเนอรี่ รีสอร์ทเขาใหญ่ จ. นครราชสีมา, 30 ตุลาคม-1พฤศจิกายน 2562, หน้า 53 – 56, PW09.

12)ธนากร ไชยโคตร, ประชา คำภักดี, ผดุงกิจแสวง (2563), “การประมาณค่าความต้านทานภายในของตัวเก็บประจุเชื่อมโยงไฟฟ้ากระแสตรงภายในอินเวอร์เตอร์(Estimation of ESR in the DC-Link Capacitors of Inverter)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 43 (EECON-43) โรงแรมท็อปแลนด์ จ. พิษณุโลก, 28-30 ตุลาคม 2563, หน้า 222 – 225, PE16.

13) ปิยวัฒน์ โคตรพรม, ธนวรรธน์ คนฉลาด, ธนากร ไชยโคตร, ประชา คำภักดี, อธิพงศ์ สุริยา, ณรงค์ ทองฉิม และ ผดุง กิจแสวง(2564), “ระบบไอโอทีเพื่อการแสดงผลคุณภาพน้ำในฟาร์มปลาที่เลี้ยงด้วยเทคนิคไบโอฟลอค (IoT based Monitoring System of Water Quality in Fish Farm with Biofloc Technique)”, การประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 13 ECTI-CARD 2021, โรงแรมฟอร์จูนริเวอร์วิว จ.นครพนม, 28-30 เมษายน 2563, บทความที่ 61. (online, เนื่องจากสถานการณ์โควิค)

14) ผดุง กิจแสวง, วุฒิไกร สร้อยสิงห์, ปวรุตม์ กองสมบัติสุข, กิตติยา กิจแสวง และ ประชา คำภักดี(2564), “เครื่องผลิตโอโซนเพื่อฆ่าไวรัสและแบคทีเรียในอากาศ (Ozone generator to kill viruses and bacteria in the air)”, การประชุมวิชาการ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 13 ECTI-CARD 2021, โรงแรมฟอร์จูนริเวอร์วิว จ.นครพนม, 28-30 เมษายน 2563, บทความที่ 61. (online, เนื่องจากสถานการณ์โควิค)

สิทธิบัตรและลิขสิทธิ์

 

ประสบการณ์ด้านการเป็นวิทยากร (Invited Lecturer)

1) ติวเตอร์สอนฟิสิกส์ระดับนักเรียนมัธยม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 2548

2) วิทยากรจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ โรงเรียนบุญสม จ. จันทรบุรี  2548

3) วิทยากรบรรยายการจำลองวงจรอิเล็กทรอนิกส์กำลัง สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงอุตสาหกรรม 2548-2549

4)โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์เพื่อพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูผู้สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2559

5)โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ด้วยเทคโนโลยี ioT สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา 2560 และ 2561

6) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ โรงเรียนวิศวกรรุ่นเยาว์ สำหรับโรงเรียนเครือข่ายมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจำปีงบประมาณ 2560,2561, 2562, 2563

7)หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ระบบ IoT และประยุกต์ใช้งาน สำหรับบุคลากรการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 2 อุบลราชธานี, วันที่4-6 และวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2561

8) หลักสูตรอบรมการทำระบบการเกษตรอัจฉริยะ Smart Farmสำหรับบุคคลทั่วไป วันที่ 13-15 กรกฎาคม 2561

9)หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้าน Solar Cell Energy, รุ่นที่ 1 สำหรับนักเรียนอาชีวะศึกษา (12-13 ก.ค. 2561), รุ่นที่ 2 สำหรับบุคคลทั่วไป (23-24 ก.ค.2561), รุ่นที่ 3 สำหรับนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย (25-26 ก.ค.2561)

10)โครงการฝึกอบรมการใช้พลังงานทดแทนระบบโซล่าเซลล์ ในการจัดการฟาร์มอัจฉริยะ ระดับกลาง วันที่ 17-21 มิ.ย.62 สำหรับอาจารย์และบุคลากรวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

11) ประธานโครงการ วิทยากร และคณะกรรมการดำเนิน โครงการสะพานสานฝันเยาวชนนักประดิษฐ์ ปีที่ 1(2551), ปีที่ 2 (2552), ปี่ที่ 9 (2560), ปีที่ 10 (2561), ปีที่ 11 (2562) ด้านการประยุกต์ใช้ระบบสมองกลฝังตัว ไมโครคอนโทรลเลอร์ ในโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับประเทศ ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย สนับสนุนโดยบริษัทไทยบริดจสโตน จำกัด ร่วมกับ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

12)  วิทยากร และ คณะกรรมการดำเนินงานเตรียมความพร้อมการจัดประฃุมวิชาการ Thailand-Japan Student ICT Fair 2019 ร่วมกับ โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย มุกดาหาร

13)วิทยากรหลักสูตรอบรมการทำระบบฟาร์มอัจฉริยะ (Smart Farm) ภายใต้โครงการบูรณาการความรู้สู่ชุมชนเพื่อพัฒนาอาชีพและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก วันที่ 7-8 กันยายน 2562 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดโดยสำนักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม